ด้วงสาคู for Dummies

 หน้าแรก คอมมูนิตี้ แท็ก คลับ เลือกห้อง ดูเพิ่มเติม

Your browser isn’t supported any longer. Update it to obtain the most effective YouTube experience and our most current features. Learn more

ควรมีการคัดเพศพ่อพันธุ์ และแม่พันธุ์แยกกันไว้ ในภาชนะปิด ระหว่างรอการผสมพันธุ์ เพื่อป้องกันการหลุดลอดออกไปสู่ธรรมชาติ

เคล็ดที่ไม่ลับ ปลูกผักหวานป่า ยังไงให้รอด โตเร็วให้มียอดอวบอ้วน

ด้วงสาคู, ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ด้วยลักษณะทางกายภาพและองค์ประกอบเชิงชีวภาพของด้วงสาคู ทำให้เหมาะสำหรับการแปรรูปเป็นอาหารได้หลากหลายวิธี ทั้งทอด นึ่ง และอบ ซึ่งแต่ละวิธีจะทำให้คุณค่าของสารอาหารเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันไป อันดับแรกที่ต้องพูดถึงคือโปรตีน สารอาหารสำคัญที่เป็นจุดขายของด้วงชนิดนี้ คุณพิมพ์เพ็ญและคุณนิธิยาให้ข้อมูลจากการทดลองเพื่อวิเคราะห์คุณค่าของด้วงสาคูไว้ว่า โปรตีนจะลดน้อยลงตามระดับความร้อน ทำให้ด้วงสาคูแบบสด แบบอบ แบบทอด และแบบนึ่ง ด้วงสาคู มีปริมาณโปรตีนจากมากไปน้อยตามลำดับ ขณะที่ไขมันมีเพียงแบบทอดเท่านั้นที่เพิ่มปริมาณสูงขึ้นจากน้ำมันทอด ที่เหลือก็ไล่เลี่ยกันทั้งหมด ปริมาณคาร์โบไฮเดรตจะเพิ่มขึ้นค่อนข้างมากเมื่อหนอนด้วงผ่านการแปรรูป แต่ก็เป็นคาร์โบไฮเดรตย่อยได้ง่าย สุดท้ายคือเนื้อสัมผัสที่ได้จากการอบจะแห้งที่สุด และแบบทอดจะมีความชื้นมากที่สุด

การเลี้ยงด้วงสาคูแบบประยุกต์ โดยใช้การเลี้ยงในกะละมัง ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดชุมพร (ผึ้ง) แนะนำนว่า อุปกรณ์ที่ใช้เลี้ยงประกอบด้วย

อ้น สัตว์เลี้ยงน่ารัก เลี้ยงง่ายขายคล่อง ราคาดีไม่มีตก

อ่านข่าวต้นฉบับได้ที่ : เทคนิคเลี้ยง “ด้วงสาคู” ในกะละมัง เลี้ยงง่ายใช้พื้นที่น้อย สร้างรายได้หลักหมื่นต่อเดือน

จากนั้นจึงนำมาลวกน้ำร้อนก่อนนำไปผัด โดยไม่ต้องใส่น้ำมัน ให้น้ำมันสีดำๆ ในตัวหนอนด้วงออกให้หมด จนกว่าน้ำมันจากตัวหนอนด้วงเป็นสีใส แล้วนำไปล้างน้ำอีกครั้ง จึงค่อยนำไปปรุงอาหารได้ตามใจชอบ เช่น คั่วเกลือ ทอดน้ำมัน ผัดขี้เมา เป็นต้น และถ้าปรุงอาหารเสร็จแล้วเก็บไว้ในตู้เย็น จะได้ตัวหนอนด้วงที่มีรสชาติดีขึ้น

วิธีเลี้ยงกุ้งฝอย และ เคล็ดลับการเตรียมบ่อเลี้ยงกุ้งฝอยตั้งแต่เบื้องต้น

การเลี้ยงด้วงสาคูแบบธรรมชาติหรือแบบดั้งเดิม

แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อแนะนำที่ควรระวังในการเลี้ยงด้วย เนื่องจากแมลงชนิดนี้เป็นศัตรูพืชที่เข้าทำลายต้นปาล์ม มะพร้าว ลาน และสาคู จึงไม่ควรปล่อยให้ตัวเต็มวัยเล็ดลอดสู่ธรรมชาติโดยเด็ดขาด

ตรัง - เกษตรกรสาวชาวตรังปรับธุรกิจเลี้ยงด้วงสาคูในกะละมัง จากเดิมที่เน้นขายด้วงสดและด้วงฟีซ หันมาผลิตเป็นพ่อแม่พันธุ์ส่งขายทั่วประเทศ ออเดอร์ล้นรายได้เป็นกอบเป็นกำ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *